Review Audiolab รุ่น 6000N Play เครื่องเล่น มิวสิค สตรีมมิ่งแบบไร้สาย – HiFi Tower

By สุโสภาภรณ์ แดงอุบล

ก่อนหน้านี้เรามีแนะนำสตรีมมิ่งที่ฮิตสุด ณ ตอนนี้ ในครั้งนี้พี่ธานีแห่ง All about ได้หยิบตัวสตรีมมิ่งที่ฮิตที่สุดอย่าง Audiolab 6000N มารีวิวแบบละเอียด มาดูกันเลย ว่า ทำไมต้องสตรีมมิ่ง?

ยุคนี้ใครๆ ก็ต้องสตรีมมิ่ง.. ปัจจุบันเครื่องเล่นแนวนี้ออกแบบมาให้ใช้งานง่ายขึ้น คุณภาพเสียงดีขึ้นเยอะ แต่ความยากมันอยู่ที่ว่า ไม่รู้จะเลือกอ๊อปชั่นไหนดี.? เพราะสตรีมมิ่งมันออกมาหลายรูปแบบมาก มีทั้งแบบที่มาพร้อมลำโพงและแอมป์ในตัวที่เรียกว่า Wireless Speaker พวกนั้นออกแบบมาโดยเน้นความสะดวกในการใช้งาน คุณภาพเสียงก็ลดหลั่นกันไปตามระดับราคา สตรีมมิ่งบางประเภทไปฝังตัวอยู่ในแอมป์ เข้าไปเป็นอินพุตหนึ่งที่ติดตัวมาในอินติเกรตแอมป์ ทางด้านคุณภาพเสียงก็สูงขึ้นไปอีกระดับ และยังได้ความสะดวกมาด้วย เพิ่มแค่ลำโพงอีกคู่เดียวก็ฟังเพลงได้แล้ว

แต่ถ้าเป็นนักเล่นเครื่องเสียงที่เน้นคุณภาพเสียงและความยืดหยุ่นในการใช้งานมากที่สุดมักจะนิยมแบบแยกชิ้นมากกว่า ซึ่งปัจจุบันนี้ก็มีเครื่องเล่นไฟล์เพลงผ่านเน็ทเวิร์คที่เรียกว่า Music Streamer หรือ Network Audio Player แบบแยกชิ้นออกมาให้เลือกซื้อมากขึ้น

= LED

= กลุ่มของปุ่มที่ใช้ในการเก็บบันทึกสถานีวิทยุบนอินเตอร์เน็ต และกดเพื่อเลือกฟัง นอกจากนั้น ปุ่มเหล่านี้ยังถูกใช้เป็นปุ่มกดเพื่อปรับตั้งค่าฟังท์ชั่นต่างๆ ของตัวเครื่องอีกด้วย

= หน้าตาของ 6000N Play ดูเรียบง่ายมาก บนหน้าปัดเครื่องแทบจะไม่มีอะไรเลย ที่สำคัญคือไม่มีจอแสดงผลเหมือนมิวสิค สตรีมเมอร์ส่วนใหญ่ที่มีอยู่ในท้องตลาดตอนนี้ นั่นก็หมายความว่า คุณต้องมีสมาร์ทโฟน หรือไม่ก็แท็ปเล็ตเพื่อใช้แทนจอแสดงผลขณะใช้งาน 6000N Play ตัวนี้ และแน่นอนว่า มันไม่มีแม้แต่รีโมทไร้สายด้วย! เมื่อพิจารณาจาก input ของ 6000N Play พบว่ามันรองรับการใช้งานร่วมกับไฟล์เพลงได้แค่ผ่านทางสตรีมฯ อย่างเดียวเท่านั้น ไม่มีอินพุตใดอีก ไม่มีทั้งดิจิตัล อินพุตและอะนาลอก อินพุตอื่นให้เลือกใช้ และ 6000N Play รองรับการสตรีมไฟล์เพลงได้เฉพาะ Wi-Fi เท่านั้น ทั้งแบบใช้สาย (Ethernet)(H) และไร้สาย (Wireless Wi-Fi)(F) แต่ไม่รองรับการสตรีมผ่าน Bluetooth ส่วนทางด้าน output นอกจากสัญญาณอะนาลอก เอ๊าต์พุต อันบาลานซ์ ผ่านขั้วต่อ RCA (M) แล้ว 6000N Play ยังให้สัญญาณดิจิตัล เอ๊าต์ผ่านออกทางช่อง coaxial กับ optical (L) มาด้วย ซึ่งผมทดลองใช้งานดูแล้วพบว่า ที่ช่อง coaxial และ optical มันไม่ปล่อยสัญญาณ DSD ปล่อยเฉพาะสัญญาณดิจิตัล PCM แต่ไปได้สูงถึง 24/192 ซึ่งเสียงที่ได้ออกมาดีมากๆ จากการทดลองจับเอาสัญญาณดิจิตัล เอ๊าต์จากช่อง coaxial ของ 6000N Play ไปต่อเข้าที่ช่อง coaxial input ของอินติเกรตแอมป์ Quad รุ่น Vena II Play ซึ่งรองรับสัญญาณดิจิตัล PCM ได้สูงถึงระดับ 24/192 ปรากฏว่าเสียงออกมาดีมากๆ เนื้อเสียงอิ่มหนา มวลเข้ม แม้แต่ไฟล์ที่ริบมาจากแผ่นซีดีซึ่งเป็นสัญญาณ PCM 16/44.1 ยังได้เสียงออกมาน่าฟัง มวลอิ่มและฉ่ำ ไม่แห้งเลย (ใช้สายดิจิตัลของ Atlas รุ่นเก่า) และจากการทดลองช่อง coaxial output ของ 6000N Play กับ external DAC ของผมที่มีอยู่ 2-3 ตัว พบว่า น้ำเสียงที่ได้ออกมาก็ยังไปในแนวทางเดียวกัน คือได้มวลเสียงที่อิ่มและหนาข้น ซึ่งผมของเน้นเลยว่า ช่องเอ๊าต์พุต coaxial ของ 6000N Play เป็น “ของดี” ที่ไม่ควรมองข้าม ใครมีอินติเกรตแอมป์ที่มีภาค DAC ในตัวและมีขั้วต่อ coaxial input มาให้ อย่างเช่น Maratnz รุ่น PM7005, Cambridge Audio CXA60/CXA80 หรือ NAD ตระกูล C อย่างเช่น C368 รวมถึงอินติเกรตแอมป์ของ Audiolab เอง หากในซิสเต็มของคุณยังไม่มีเครื่องเล่นไฟล์เพลง ผมแนะนำให้ใช้ 6000N Play ตัวนี้เป็นทรานสปอร์ตในการเล่นไฟล์เพลง แล้วใช้อินพุต coaxial ในแอมป์ฯ ของคุณรองรับสัญญาณดิจิตัล เอ๊าต์จากช่อง coaxial output ของ 6000N Play จะแฮ้ปปี้มาก! โดยเฉพาะอินติเกรตแอมป์ทั้งสามตัวข้างต้นที่ยกมาเป็นตัวอย่าง เพราะข้อมูลจากสเปคฯ ของช่องอินพุต coaxial ของอินติเกรตแอมป์ทั้งสามตัวนั้นแจ้งไว้ว่าสามารถรองรับสัญญาณ PCM ได้ถึงระดับ 24/192 เต็มสเปคฯ..!!! อย่างแรกที่ต้องขอเตือนสำหรับคนที่ตั้งใจว่าจะเอา 6000N Play ตัวนี้ไปใช้สตรีมไฟล์เพลงด้วยระบบไร้สาย Wi-Fi อย่างเดียวโดยไม่คิดจะเชื่อมต่อเน็ทเวิร์คด้วยสาย LAN คือถ้าคุณตั้งใจจะทำแบบนั้นจริงๆ คุณต้องจัดเตรียมระบบเน็ทเวิร์คที่มีคุณภาพสูงตามมาตรฐานของ 802.11a ขึ้นไปเท่านั้นนะครับ คือต้องไล่ไปเลยตั้งแต่ตัว router ซึ่งควรจะเป็น gigabit router ที่รองรับคลื่น 2.4GHz และ 5GHz แต่ต้องไม่ใช่ gigabit router แบบธรรมดาๆ ที่ดูแค่สปีดในการรับ/ส่งข้อมูลได้ถึง 1Gbps เท่านั้นนะครับ ต้องดูมากกว่านั้น เพราะตัวเลข 1Gbps ที่ router ส่วนใหญ่แจ้งไว้ มักจะหมายถึงการรับ/ส่งดาต้าผ่านทางสาย Ethernet ซะมากกว่า หา router ที่สามารถรับ/ส่งสัญญาณผ่านทาง Wi-Fi ได้ถึงระดับ 1Gbps ได้ยาก มีอยู่น้อยมาก ที่ทำได้ก็มีราคาสูงทั้งนั้น ตัวอย่างที่ค่อนข้างชัวร์ก็มีตัวท็อปของ Netgear รุ่น Nighthawk RAX120 AX12 12-Stream ตัวนี้ใช้มาตรฐาน Wi-Fi 6 หรือ 802.11ax ราคาสองหมื่นกว่า สปีดในการรับ/ส่งดาต้าผ่าน Wi-Fi ไร้สายของตัวนี้ไปได้ถึง 1Gbps ในขณะที่ผ่านสาย Ethernet สปีดวิ่งไปได้สูงสุดถึง 2.5Gbps ซึ่ง router ที่มีราคาตัวละ 3-4 พันบาทสเปคฯ ไม่ถึงแน่นอน!

ดังนั้น เพื่อให้การใช้งาน 6000N Play ได้อรรถประโยชน์เต็มที่ ไม่มีปัญหาขลุกขลัก และที่สำคัญ โดยเฉพาะคนที่เป็นนักเล่นเครื่องเสียงที่ต้องการคุณภาพเสียงสูงสุดจาก 6000N Play ผมแนะนำให้ทำการเชื่อมต่อเน็ทเวิร์คที่บ้านของคุณเข้ากับ 6000N Play ผ่านทางสาย Ethernet เท่านั้น เพื่อให้มั่นใจในคุณภาพเสียงสูงสุดตลอดเวลา (โดยเฉพาะการเล่นไฟล์ไฮเรซฯ)

นอกจากประสิทธิภาพของ router แล้ว การเชื่อมต่อ 6000N Play เข้ากับเน็ทเวิร์คทางระบบไร้สาย Wi-Fi ก็ไม่ได้ยากถ้าคุณมีประสบการณ์ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ตัวอื่นมาก่อน และได้ทำการปรับตั้ง access point ที่ตัว router ของคุณให้ทำการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ตัวใหม่ด้วยโหมด DHCP แต่ถ้าคุณไม่ได้เป็นคนติดตั้งและเซ็ตอัพระบบเน็ทเวิร์คด้วยตัวเอง ควรปรึกษาช่างที่ทำการติดตั้งให้ เพราะถ้ามีการปรับตั้งการเชื่อมต่อของ router ให้เป็นแบบ IP security จะมีขั้นตอนที่ซับซ้อนเพิ่มขึ้นอีกนิดหน่อย

ส่วนชุดทดสอบที่สอง ผมคงที่ทุกอย่างไว้เปลี่ยนแต่ลำโพงกับแอมป์แค่สองชิ้น คือลำโพงเปลี่ยนเป็นลำโพงคู่ละแสนสองของ Totem Acoustics รุ่น Elements ‘Ember’ กับเปลี่ยนแอมป์เป็นอินติเกรตแอมป์ของ Naim Audio รุ่น Supernait 3 (REVIEW) ราคาแสนแปดหมื่นห้า

ทั้ง 6000N Play และอินติเกรตแอมป์ที่ใช้ทดสอบทั้งสองชุด ผมต่อไฟเอซีเข้าเครื่องด้วยสายไฟแถมสีดำที่ต่อมาจากปลั๊กรางของ Clef Audio รุ่น PowerBridge-8 และจากปลั๊กรางไปที่ปลั๊กไฟบนผนังผมก็ใช้สายไฟแถมเส้นสีดำขนาดใหญ่หน่อย ที่ทำอย่างนี้ก็เพราะต้องการลดการปรุงแต่งที่เกินจำเป็นออกไป เพื่อให้ได้ยินตัวตนแท้ๆ ของ 6000N Play ให้มากที่สุด ซึ่งจากการทดลองใช้สายไฟแถมกับสายไฟดีๆ กับ 6000N Play ผมพบว่า มันไปกับสายไฟแถมได้ดีทีเดียว สายไฟดีๆ มีส่วนช่วยเสริมคุณภาพขึ้นมาได้จริง แต่ก็มีเสริมบุคลิกเสียงขึ้นมาด้วย ซึ่งในกรณีของสายไฟเอซีสำหรับ 6000N Play ผมพบว่ามันมีความสำคัญน้อยกว่าระบบกราวนด์ที่ดีของบ้าน และจุดที่ผมพบว่ามีผลกับคุณภาพเสียงของ 6000N Play มากกว่าสายไฟเอซีก็คือสายสัญญาณที่ใช้เชื่อมต่อจากช่องอะนาลอกเอ๊าต์พุตของ 6000N Play ไปที่อินพุตของแอมป์ ซึ่งจากการทดลองใช้สายสัญญาณดำ–แดงที่แถมมากับเครื่องถูกๆ ดูแล้ว ผมพบว่า เสียงที่ออกมาเมื่อเทียบกับสายสัญญาณที่มีคุณภาพดีระดับคู่ละ 4-5,000 บาท มันต่างกันเยอะมาก สายสัญญาณอะนาลอกดีๆ มีส่วนช่วยทำให้คุณภาพเสียงของ 6000N Play ถูกถ่ายทอดออกมาได้เต็มประสิทธิภาพของมันมากขึ้น ในขั้นตอนท้ายๆ ของการทดสอบกับชุด Supernait 3 + Element ‘Ember’ ผมทดลองแบบไม่อั้น คือใช้สายสัญญาณของ Nordost รุ่น Frey 2 ราคาเมตรละสองหมื่นกว่าเชื่อมต่อระหว่าง 6000N Play กับ Supernait 3 พบว่า เสียงที่ออกมามันขยับสูงขึ้นไปได้อีกเยอะเลย เห็นได้ชัดโดยเฉพาะตอนที่เล่นไฟล์ไฮเรซฯ ทั้งหลาย จะได้ความเปิดโล่งดีขึ้น รายละเอียดออกมาเยอะขึ้น การแจกแจงดีขึ้น รวมถึงไดนามิกและความโปร่งใสของสนามเสียงก็ดีขึ้นด้วย

อีกอ๊อปชั่นของ 6000N Play ที่ผมเกริ่นมาก่อนหน้านี้ว่าเป็นของดีที่ไม่ควรมองข้ามนั่นคือช่องดิจิตัล เอ๊าต์พุต coaxial ซึ่งนอกจากจะปล่อยสัญญาณเอ๊าต์พุตได้สูงถึง 24/192 แล้ว ช่องเอ๊าต์พุตนี้ยังให้คุณคุณภาพเสียงที่ดีมากๆ ด้วย.!

แอพลิเคชั่น DTS Play-Fi มีความจำเป็นสำหรับการใช้งานกับ 6000N Play เพระมันถูกออกแบบมาให้ใช้งานกับแอพฯ ตัวนี้โดยเฉพาะ ซึ่งคุณสามารถดาวน์โหลดแอพฯ ตัวนี้มาใช้งานได้ฟรี โดยเลือกเอาตามเวอร์ชั่นของระบบปฏิบัติการณ์ที่อุปกรณ์พกพาของคุณใช้อยู่ มีทั้งเวอร์ชั่น Android (โหลดได้จาก Google Play), iOS (โหลดได้จาก App Store), Kindle fire (โหลดได้จาก Amazon Apps) และมีเวอร์ชั่นที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ Windows ด้วย

ผมได้ทำบทความแนะนำให้รู้จักกับเทคโนโลยี DTS Play-Fi ไว้แล้ว ตามลิ้งค์ด้านบน แนะนำให้กดลิ้งค์เข้าไปอ่านกันก่อน และขออนุญาตละส่วนของการแนะนำเทคโนโลยี DTS Play-Fi ไป จะขอข้ามไปพูดถึงตัวแอพลิเคชั่น DTS Play-Fi เลยเพื่อไม่ให้เสียเวลา

แม้ว่าแอพฯ DTS Play-Fi จะใช้งานบนสมาร์ทโฟนได้ แต่ถ้าเลือกได้ แนะนำให้ใช้บนแท็ปเล็ตจะง่ายต่อการควบคุมมากกว่า หลังจากดาวนด์โหลดแอพลิเคชั่น DTS Play-Fi มาลงบน iPad mini 2 ของผมเสร็จ ผมใช้เวลาเชื่อมต่อแอพฯ เข้ากับเครื่องเล่นตัว 6000N Play แค่ไม่กี่นาทีก็เสร็จแล้ว ถือว่าใช้งานไม่ยาก (ดูจากวิดีโอแนะนำการเชื่อมต่อของ Hi-Fi Tower ถ้าไม่เข้าใจโทรฯ ถามคุณบอล ที่ไฮไฟ ทาวเวอร์ได้เลย โทร. 081-682-7577) ในหน้าหลักของแอพฯ ตัวนี้ได้จัดวางฟังท์ชั่นต่างๆ ไว้เป็นระเบียบเรียบร้อย ใช้สัญลักษณ์ที่เข้าใจได้ง่าย ไปดูลักษณะการใช้งานแอพฯ อย่างคร่าวๆ กันเลย

A = ปุ่ม Settings เป็นที่รวบรวมหัวข้อการปรับตั้งค่าต่างๆ ในการใช้งานแอพฯ ตัวนี้

B = แสดงอุปกรณ์ที่เชื่อมต่ออยู่กับแอพฯ ขณะนี้

C = สไลด์ที่ใช้ปรับวอลลุ่ม

D = ปุ่มฟังท์ชั่นใช้งานต่างๆ

E = ปุ่มกดเปิดใช้งานฟังท์ชั่น Critical Listening Mode

F = ซ่อนโซนนี้

G = ลบการใช้งานโซนนี้

เมื่อกดปุ่ม Settings (A) ตัวแอพฯ จะพาคุณเข้ามาในหน้าที่รวบรวมหัวข้อเมนูทั้งหมด ซึ่งมีอยู่ 14 หัวข้อ ยกตัวอย่างเช่น Rename (1) ใช้สำหรับเปลี่ยนชื่ออุปกรณ์แต่ละตัวที่อยู่ในวงเน็ทเวิร์คเดียวกัน ซึ่งแอพฯ ตัวนี้ใช้ชื่อเรียกอุปกรณ์แต่ละตัวว่า “speakers” ณ ตอนแรกที่ Audiolab 6000N Play ถูกเชื่อมเข้ามาในแอพฯ ตัวนี้ ชื่อของมันจะปรากฏเป็นโค๊ดรหัสที่จำยาก เพื่อให้ผู้ใช้จดจำชื่ออุปกรณ์ในแต่ละโซนได้ง่ายขึ้น ทางผู้พัฒนาแอพฯ DTS Play-Fi ตัวนี้จึงมอบฟังท์ชั่น Rename มาให้ ซึ่งในนั้นมีชื่อที่ตั้งสำเร็จไว้ให้คุณสามารถเลือกได้มากมาย อาทิเช่น Living Room, Bed Room ฯลฯ อ้างอิงตามตำแหน่งของโซนที่ใช้ หรือถ้าไม่ชอบ คุณก็สามารถตั้งชื่อตามใจชอบได้ (custom) ในที่นี้ผมได้ปรับตั้งชื่ออุปกรณ์เครื่องเล่นของ Audiolab ตัวนี้ไว้ตามรุ่นเดิมของมันคือ “Audiolab 6000N”

นอกจากนั้น ใน settings นี้ยังมีหัวข้อปรับตั้งที่จำเป็นอีก 2-3 หัวข้อ อย่างเช่น “Music Service” (2) ใช้สำหรับเข้าไปดึงไอค่อนของผู้ให้บริการเพลงทางอินเตอร์เน็ต อย่างเช่น TIDAL, Spotify, Deezer ฯลฯ ขึ้นมาพร้อมใช้งานกับเครื่องเล่น 6000N Play ฟังท์ชั่นอีกตัวที่จำเป็นคือ “Update System” (4) มีไว้สำหรับอัพเดตเฟิร์มแวร์ให้กับแอพฯ และตัวเครื่องเล่นฯ ส่วนหัวข้อ “Stereo Pair” (3) มีไว้สำหรับการเลือกลำโพงไร้สาย ที่เชื่อมต่ออยู่กับแอพฯ นี้ให้ทำงานร่วมกันเป็นลำโพง Left กับ Right ในโหมดเสียง Stereo 2 แชนเนล นอกจากนี้ ยังมีการปรับตั้งอื่นๆ อีกบางส่วนซ่อนอยู่ในหัวข้อ “Advanced Settings” ซึ่งอยู่ล่างสุดของหน้า Settings นี้

ก่อนจะเริ่มใช้แอพฯ เล่นไฟล์เพลง ผมแนะนำให้ทำการเปิดใช้โหมด “Critical Listening” ไว้ก่อน เพื่อทำให้แอพฯ พร้อมสำหรับการเล่นไฟล์เพลงไฮเรซฯ ซึ่งวิธีการก็ให้ใช้ปลายนิ้วจิ้มลงไปที่ตัวสัญลักษณ์ “Hi-Res Audio” (ศรชี้)

หลังจากนั้นจิ้มเลือกลงไปแล้ว สังเกตที่ตัวสัญลักษณ์ Hi-Res Audio จะเปลี่ยนจากสีเทาๆ กลายเป็นสีเหลืองทอง (ศรชี้) แสดงว่าโหมด Critical Listening ถูกเปิดใช้งานเรียบร้อยแล้ว พร้อมสำหรับการเล่นไฟล์เพลงที่มีสเปคฯ สูงถึง 24bit/192kHz

กรณีที่มีอุปกรณ์เล่นไฟล์เพลงเชื่อมต่ออยู่กับแอพฯ หลายตัว จะปรากฏชื่อของอุปกรณ์เหล่านั้นขึ้นมาพร้อมกัน เมื่อคุณต้องการเล่นไฟล์เพลงไปที่อุปกรณ์ตัวไหน ให้จิ้มปลายนิ้วไปที่ชื่อของอุปกรณ์ตัวนั้น ในที่นี้ผมต้องการเล่นไฟล์เพลงที่ตัว “Audiolab 6000N” เมื่อใช้ปลายนิ้วจิ้มลไงปที่ชื่อ Audiolab 6000N จะปรากฏแถบสัญลักษณ์ของผู้ให้บริการเพลงบนอินเตอร์เน็ททั้งหมดที่เราเลือกไว้ ซึ่งคุณสามารถเลือกให้ขึ้นมาใชว์เฉพาะเจ้าที่ใช้งานจริงได้ โดยเข้าไปเลือกที่ Settings > Music Services ส่วนที่ไม่ได้เลือกก็จะไม่ขึ้นมาโชว์ในกรอบนี้ นอกจาก music services แล้ว ที่หน้านี้จะมีสัญลักษณ์อีก 2 ตัวที่โชว์ขึ้นมาเสมอโดยที่คุณไม่ต้องเลือก นั่นคือ “Internat Radio” กับ “Media Server” ซึ่งตัว Media Server (ศรชี้) คือแหล่งที่คุณเก็บไฟล์เพลงของคุณเองเอาไว้ ซึ่งอาจจะเป็นใน NAS ที่เชื่อมต่ออยู่ในเน็ทเวิร์คเดียวกันนี้ หรือบางคนอาจจะเก็บไว้ในฮาร์ดดิสของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่ออยู่ในเน็ทเวิร์คเดียวกันนี้ (*ในกรณีของคนที่ไม่ได้เก็บไฟล์เพลงไว้ใน NAS และต้องการให้แอพฯ ตัวนี้ดึงไฟล์เพลงที่เก็บไว้ในคอมพิวเตอร์มาเล่น ผมแนะนำให้เข้าไปอ่านบทความนี้ก่อน “วิธีทำคอมพิวเตอร์ของคุณให้กลายเป็น Music Server ชั้นดี!”)

ทดลองฟังเพลงจาก TIDAL ด้านบนนี้หน้าตาของแอพฯ หลังจากจิ้มปลายนิ้วเลือกไปที่สัญลักษณ์ของ TIDAL ซึ่งเป็นหน้าที่รวบหัวข้อของหมวดเพลงที่จะเลือกฟัง ผมเลือกไปที่ What’s New (ศรชี้) เพื่อขอลองฟังเพลงใหม่ๆ ที่เพิ่งเข้ามา

บนแอพฯ ตัวนี้จะแสดงรายละเอียดของเมนู TIDAL ออกมาคล้ายแอพของ TIDAL เอง ซึ่งในหน้านี้จะแยกเพลงใหม่ๆ ออกมาเป็นหมวดหมู่ คือ Playlist, Albums, Tracks .. ผมลองเลือกดูอัลบั้มออกใหม่ทั้งหมด โดยจิ้มไปที่ “> More” ตามศรชี้ในภาพ

มาถึงหน้านี้ ซึ่งโชว์อัลบั้มออกใหม่โดยแยกเป็น 3 หมวด คือ New, Recommended และ Top 20 ซึ่งโดยปกติแล้ว ถ้าเป็นแอพฯ ของ TIDAL และเชื่อมต่อกับเครื่องเล่นไฟล์เพลงที่รองรับการถอดรหัสไฟล์เพลง MQA ที่อยู่ใน TIDAL ที่หน้านี้จะมีหัวข้อ MQA ขึ้นมาอีกหนึ่งหัวข้อให้เลือกเล่น เมื่อไม่มีหัวข้อ MQA ขึ้นมาก็แสดงว่า ภาค DAC ของ 6000N Play ไม่รองรับการถอดรหัสให้กับฟอร์แม็ต MQA นั่นเอง (*ผมลองเล่นอัลบั้มที่เป็น MQA ปรากฏว่าแอพฯ เล่นออกมาเป็น 16/44.1 FLAC เท่านั้น แต่เสียงก็ออกมาดีมาก) ผมทดลองเลือกเล่นอัลบั้มชุด “Shelby Lynne” ของศิลปินชื่อเดียวกัน

เมื่อเพลงเริ่มเล่นแอพฯ จะพามาหยุดที่หน้านี้ ซึ่งเป็นหน้า Playing ของแอพ ซึ่งไม่ว่าคุณจะสั่งเล่นไฟล์เพลงจากแหล่งไหน ตอนไฟล์เพลงกำลังเล่น ตัวแอพฯ จะแสดงหน้านี้ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดๆ กันดังนั้น (1) แสดงสัญลักษณ์ให้รู้ว่ากำลังฟังจากแหล่งไหน (2) แสดงชื่อเพลง, อัลบั้ม, ศิลปิน พร้อมแสดงฟอร์แม็ตของไฟล์เพลงที่กำลังเล่น บอกสเปคฯ ของสัญญาณเพลงที่กำลังเล่น นอกจากนั้น บริเวณใกล้เคียงกันจะมีสัญลักษณ์ของคำสั่งที่ใช้ควบคุมการเล่นไฟล์เพลง และสไลด์สำหรับปรับวอลลุ่มอยู่ด้วย (3) แสดงชื่อของอุปกรณ์ที่รับสัญญาณเสียงจากแอพฯ ไป (4) อันนี้เป็นแถบแสดงช่วงของเพลงที่กำลังเล่นซึ่งจะไหลไปตามสัญญาณเพลงที่เล่น (5) ถ้าฟังแล้วชอบ ต้องการบันทึกอัลบั้มนี้ไว้เป็น preset ก็ให้จิ้มที่สัญลักษณ์นี้ (6) ถ้าต้องการเข้าไปเลือกลบเพลงใดออกไปจากอัลบั้มนี้ก็จิ้มไปที่สัญลักษณ์นี้ (7) ถ้าต้องการเพิ่มอัลบั้มนี้ไว้ใน My Collection หรือ Add to Playlist หรือต้องการเข้าไปดูงานเพลงอื่นๆ ของศิลปินเดียวกันนี้ ฯลฯ ให้จิ้มที่นี่ (8) จิ้มที่นี่ถ้าต้องการย้อนกลับไปยังหน้าแอพฯ ก่อนหน้านี้เพื่อเลือกฟังอัลบั้มอื่นๆ (9) ต้องการย้อนกลับไปเลือกฟังเพลงจากแหล่งอื่น ให้จิ้มที่สัญลักษณ์นี้

คอมเม้นต์ – ผลการลองฟังจาก TIDAL ผ่าน DTS Play-Fi ไปที่ตัว 6000N Play ผมพบว่า ความไหลลื่นในการโหลดเพลงที่บ้านผมค่อนข้างเร็วและมีความเสถียรมากพอสมควร จากช่วงเวลาประมาณ 3 อาทิตย์ที่ผ่านมา ผมพบปัญหาในการโหลดไฟล์เพลงจาก TIDAL ไม่ถึง 5 ครั้งที่มีอาการเล่นแล้วหยุด ซึ่งก็เป็นช่วงเวลาสั้นๆ เท่านั้น ทั้งนี้ทั้งนั้น ต้องทำความเข้าใจก่อนว่า คุณภาพในการโหลดสัญญาณและคุณภาพเสียงจะขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพของเน็ทเวิร์คและอินเตอร์เน็ตของแต่ละบ้าน แต่ละพื้นที่ใช้งาน ระบบเน็ทเวิร์คที่เร็วและผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตที่มีคุณภาพจะทำให้การฟังเพลงผ่านอินเตอร์เน็ตได้ทั้งความลื่นไหลและคุณภาพเสียงที่ดี ซึ่งผมรู้สึกประทับใจในแง่คุณภาพเสียงที่ได้จากการเล่นผ่าน 6000N Play ตัวนี้มาก มันให้เสียงโดยรวมที่สะอาดและนวลเนียนมาก อย่างอัลบั้มนี้เสียงเบสออกมาแน่นและมีมวลหนา ไม่ได้บางเหมือนที่เคยฟังจากเครื่องเล่นตัวอื่น.

ยุคนี้ใครๆ ก็ต้องสตรีมมิ่ง.. ปัจจุบันเครื่องเล่นแนวนี้ออกแบบมาให้ใช้งานง่ายขึ้น คุณภาพเสียงดีขึ้นเยอะ แต่ความยากมันอยู่ที่ว่า ไม่รู้จะเลือกอ๊อปชั่นไหนดี.? เพราะสตรีมมิ่งมันออกมาหลายรูปแบบมาก มีทั้งแบบที่มาพร้อมลำโพงและแอมป์ในตัวที่เรียกว่า Wireless Speaker พวกนั้นออกแบบมาโดยเน้นความสะดวกในการใช้งาน คุณภาพเสียงก็ลดหลั่นกันไปตามระดับราคา สตรีมมิ่งบางประเภทไปฝังตัวอยู่ในแอมป์ เข้าไปเป็นอินพุตหนึ่งที่ติดตัวมาในอินติเกรตแอมป์ ทางด้านคุณภาพเสียงก็สูงขึ้นไปอีกระดับ และยังได้ความสะดวกมาด้วย เพิ่มแค่ลำโพงอีกคู่เดียวก็ฟังเพลงได้แล้ว แต่ถ้าเป็นนักเล่นเครื่องเสียงที่เน้นคุณภาพเสียงและความยืดหยุ่นในการใช้งานมากที่สุดมักจะนิยมแบบแยกชิ้นมากกว่า ซึ่งปัจจุบันนี้ก็มีเครื่องเล่นไฟล์เพลงผ่านเน็ทเวิร์คที่เรียกว่า Music Streamer หรือ Network Audio Player แบบแยกชิ้นออกมาให้เลือกซื้อมากขึ้น 6000N Play เป็นสมาชิกล่าสุดในอนุกรม 6000 series ของ Audiolab เป็นเครื่องเล่นไฟล์เพลงที่วิศวกรของ Audiolab ตั้งใจออกแบบมาให้สตรีมไฟล์เพลงผ่านทางระบบเน็ทเวิร์คไร้สาย Wi-Fi มาตรฐาน 802.11n หรือสูงกว่า ซึ่งความพิเศษของ 6000N Play มีอยู่ 2 ประเด็น ประเด็นแแรกอยู่ที่ความสามารถในการสตรีมไฟล์เพลงได้ถึงระดับไฮเรสโซลูชั่นผ่านทางไร้สาย Wi-Fi โดยอาศัยเทคโนโลยีของ DTS ที่ชื่อว่า DTS Play-Fi ส่วนจุดเด่นประเด็นที่สองของ 6000N Play ก็คือรองรับการสตรีมไฟล์เพลงในระบบมัลติรูมด้วย ก่อนจะเจาะลงไปถึงรายละเอียดลึกๆ เกี่ยวกับ 6000N Play ตัวนี้ เราไปพิจารณาดูรูปร่างหน้าตากับฟังท์ชั่นใช้งานกันก่อน A = ไฟ LED แสดงสถานะการทำงานของตัวเครื่อง

B = กลุ่มของปุ่มที่ใช้ในการเก็บบันทึกสถานีวิทยุบนอินเตอร์เน็ต และกดเพื่อเลือกฟัง นอกจากนั้น ปุ่มเหล่านี้ยังถูกใช้เป็นปุ่มกดเพื่อปรับตั้งค่าฟังท์ชั่นต่างๆ ของตัวเครื่องอีกด้วย

C = ปุ่มสแตนด์บาย และเปิดใช้งานตัวเครื่อง D = จุดเชื่อมต่อปลั๊กไฟเอซีและช่องใส่ฟิวส์

E = สวิทช์หลักสำหรับเปิด/ปิดไฟเอซีเข้าเครื่อง

F = เสารับคลื่น Wi-Fi

G = ปุ่ม Setup + ไฟ LED ที่ใช้เชื่อมต่อกับคลื่น Wi-Fi ของ router

H = ช่องต่อสาย Ethernet

I = ช่อง USB-type-A ใช้สำหรับอัพเดตอินเตอร์เน็ต เฟิร์มแวร์อย่างเดียว

J = ช่อง USB-type-B ใช้สำหรับเชื่อมต่อสัญญาณไปควบคุมอินติเกรตแอมป์รุ่น 6000A เพื่อให้สามารถควบคุมวอลลุ่มของ 6000A ผ่านแอพลิเคชั่น DTS Play-Fi

K = ลูปสัญญาณ 12V trigger in/out สำหรับการกระตุ้นของสัญญาณรีโมทจากภายนอก

L = ช่องสัญญาณดิจิตัล เอ๊าต์พุตผ่านขั้วต่อ Coaxial และ Optical

M = ช่องสัญญาณอะนาลอก เอ๊าต์พุต หน้าตาของ 6000N Play ดูเรียบง่ายมาก บนหน้าปัดเครื่องแทบจะไม่มีอะไรเลย ที่สำคัญคือไม่มีจอแสดงผลเหมือนมิวสิค สตรีมเมอร์ส่วนใหญ่ที่มีอยู่ในท้องตลาดตอนนี้ นั่นก็หมายความว่า คุณต้องมีสมาร์ทโฟน หรือไม่ก็แท็ปเล็ตเพื่อใช้แทนจอแสดงผลขณะใช้งาน 6000N Play ตัวนี้ และแน่นอนว่า มันไม่มีแม้แต่รีโมทไร้สายด้วย! เมื่อพิจารณาจาก input ของ 6000N Play พบว่ามันรองรับการใช้งานร่วมกับไฟล์เพลงได้แค่ผ่านทางสตรีมฯ อย่างเดียวเท่านั้น ไม่มีอินพุตใดอีก ไม่มีทั้งดิจิตัล อินพุตและอะนาลอก อินพุตอื่นให้เลือกใช้ และ 6000N Play รองรับการสตรีมไฟล์เพลงได้เฉพาะ Wi-Fi เท่านั้น ทั้งแบบใช้สาย (Ethernet)(H) และไร้สาย (Wireless Wi-Fi)(F) แต่ไม่รองรับการสตรีมผ่าน Bluetooth ส่วนทางด้าน output นอกจากสัญญาณอะนาลอก เอ๊าต์พุต อันบาลานซ์ ผ่านขั้วต่อ RCA (M) แล้ว 6000N Play ยังให้สัญญาณดิจิตัล เอ๊าต์ผ่านออกทางช่อง coaxial กับ optical (L) มาด้วย ซึ่งผมทดลองใช้งานดูแล้วพบว่า ที่ช่อง coaxial และ optical มันไม่ปล่อยสัญญาณ DSD ปล่อยเฉพาะสัญญาณดิจิตัล PCM แต่ไปได้สูงถึง 24/192 ซึ่งเสียงที่ได้ออกมาดีมากๆ จากการทดลองจับเอาสัญญาณดิจิตัล เอ๊าต์จากช่อง coaxial ของ 6000N Play ไปต่อเข้าที่ช่อง coaxial input ของอินติเกรตแอมป์ Quad รุ่น Vena II Play ซึ่งรองรับสัญญาณดิจิตัล PCM ได้สูงถึงระดับ 24/192 ปรากฏว่าเสียงออกมาดีมากๆ เนื้อเสียงอิ่มหนา มวลเข้ม แม้แต่ไฟล์ที่ริบมาจากแผ่นซีดีซึ่งเป็นสัญญาณ PCM 16/44.1 ยังได้เสียงออกมาน่าฟัง มวลอิ่มและฉ่ำ ไม่แห้งเลย (ใช้สายดิจิตัลของ Atlas รุ่นเก่า) และจากการทดลองช่อง coaxial output ของ 6000N Play กับ external DAC ของผมที่มีอยู่ 2-3 ตัว พบว่า น้ำเสียงที่ได้ออกมาก็ยังไปในแนวทางเดียวกัน คือได้มวลเสียงที่อิ่มและหนาข้น ซึ่งผมของเน้นเลยว่า ช่องเอ๊าต์พุต coaxial ของ 6000N Play เป็น “ของดี” ที่ไม่ควรมองข้าม ใครมีอินติเกรตแอมป์ที่มีภาค DAC ในตัวและมีขั้วต่อ coaxial input มาให้ อย่างเช่น Maratnz รุ่น PM7005, Cambridge Audio CXA60/CXA80 หรือ NAD ตระกูล C อย่างเช่น C368 รวมถึงอินติเกรตแอมป์ของ Audiolab เอง หากในซิสเต็มของคุณยังไม่มีเครื่องเล่นไฟล์เพลง ผมแนะนำให้ใช้ 6000N Play ตัวนี้เป็นทรานสปอร์ตในการเล่นไฟล์เพลง แล้วใช้อินพุต coaxial ในแอมป์ฯ ของคุณรองรับสัญญาณดิจิตัล เอ๊าต์จากช่อง coaxial output ของ 6000N Play จะแฮ้ปปี้มาก! โดยเฉพาะอินติเกรตแอมป์ทั้งสามตัวข้างต้นที่ยกมาเป็นตัวอย่าง เพราะข้อมูลจากสเปคฯ ของช่องอินพุต coaxial ของอินติเกรตแอมป์ทั้งสามตัวนั้นแจ้งไว้ว่าสามารถรองรับสัญญาณ PCM ได้ถึงระดับ 24/192 เต็มสเปคฯ..!!! อย่างแรกที่ต้องขอเตือนสำหรับคนที่ตั้งใจว่าจะเอา 6000N Play ตัวนี้ไปใช้สตรีมไฟล์เพลงด้วยระบบไร้สาย Wi-Fi อย่างเดียวโดยไม่คิดจะเชื่อมต่อเน็ทเวิร์คด้วยสาย LAN คือถ้าคุณตั้งใจจะทำแบบนั้นจริงๆ คุณต้องจัดเตรียมระบบเน็ทเวิร์คที่มีคุณภาพสูงตามมาตรฐานของ 802.11a ขึ้นไปเท่านั้นนะครับ คือต้องไล่ไปเลยตั้งแต่ตัว router ซึ่งควรจะเป็น gigabit router ที่รองรับคลื่น 2.4GHz และ 5GHz แต่ต้องไม่ใช่ gigabit router แบบธรรมดาๆ ที่ดูแค่สปีดในการรับ/ส่งข้อมูลได้ถึง 1Gbps เท่านั้นนะครับ ต้องดูมากกว่านั้น เพราะตัวเลข 1Gbps ที่ router ส่วนใหญ่แจ้งไว้ มักจะหมายถึงการรับ/ส่งดาต้าผ่านทางสาย Ethernet ซะมากกว่า หา router ที่สามารถรับ/ส่งสัญญาณผ่านทาง Wi-Fi ได้ถึงระดับ 1Gbps ได้ยาก มีอยู่น้อยมาก ที่ทำได้ก็มีราคาสูงทั้งนั้น ตัวอย่างที่ค่อนข้างชัวร์ก็มีตัวท็อปของ Netgear รุ่น Nighthawk RAX120 AX12 12-Stream ตัวนี้ใช้มาตรฐาน Wi-Fi 6 หรือ 802.11ax ราคาสองหมื่นกว่า สปีดในการรับ/ส่งดาต้าผ่าน Wi-Fi ไร้สายของตัวนี้ไปได้ถึง 1Gbps ในขณะที่ผ่านสาย Ethernet สปีดวิ่งไปได้สูงสุดถึง 2.5Gbps ซึ่ง router ที่มีราคาตัวละ 3-4 พันบาทสเปคฯ ไม่ถึงแน่นอน! ดังนั้น เพื่อให้การใช้งาน 6000N Play ได้อรรถประโยชน์เต็มที่ ไม่มีปัญหาขลุกขลัก และที่สำคัญ โดยเฉพาะคนที่เป็นนักเล่นเครื่องเสียงที่ต้องการคุณภาพเสียงสูงสุดจาก 6000N Play ผมแนะนำให้ทำการเชื่อมต่อเน็ทเวิร์คที่บ้านของคุณเข้ากับ 6000N Play ผ่านทางสาย Ethernet เท่านั้น เพื่อให้มั่นใจในคุณภาพเสียงสูงสุดตลอดเวลา (โดยเฉพาะการเล่นไฟล์ไฮเรซฯ) นอกจากประสิทธิภาพของ router แล้ว การเชื่อมต่อ 6000N Play เข้ากับเน็ทเวิร์คทางระบบไร้สาย Wi-Fi ก็ไม่ได้ยากถ้าคุณมีประสบการณ์ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ตัวอื่นมาก่อน และได้ทำการปรับตั้ง access point ที่ตัว router ของคุณให้ทำการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ตัวใหม่ด้วยโหมด DHCP แต่ถ้าคุณไม่ได้เป็นคนติดตั้งและเซ็ตอัพระบบเน็ทเวิร์คด้วยตัวเอง ควรปรึกษาช่างที่ทำการติดตั้งให้ เพราะถ้ามีการปรับตั้งการเชื่อมต่อของ router ให้เป็นแบบ IP security จะมีขั้นตอนที่ซับซ้อนเพิ่มขึ้นอีกนิดหน่อย ในการทดสอบ 6000N Play ผมติดตั้งเน็ทเวิร์คที่บ้านเข้ากับ 6000N Play ผ่านเข้าทาง Ethernet โดยใช้สาย LAN Cat.6 (เส้นสีขาวๆ ในภาพ) เพื่อให้มั่นใจว่าตอนเล่นไฟล์ Hi-Res มันจะทำให้ผมได้ยินคุณภาพเสียงออกมาเต็มที่มากที่สุดเท่าที่ไฟล์ตัวนั้นๆ จะให้ได้ ชุดแรกใช้ลำโพงคู่ละไม่ถึงสองหมื่นของ Mission รุ่น QX-2 ขับด้วยอินติเกรตแอมป์ของ Quad รุ่น Vena II Play ราคาสามหมื่นนิดๆ ซึ่งตัวแอมป์ Vena II Play ตัวนี้มี DAC ในตัว ผมจึงได้ทดสอบสัญญาณดิจิตัลเอ๊าต์พุตของ 6000N Play ไปพร้อมกันด้วย คือผมต่อสัญญาณอะนาลอกเอ๊าต์พุตของ 6000N Play ไปเข้าที่ช่อง AUX2 ของ Vena II Play ไว้้ด้วย เวลาทดลองฟังก็ใช้วิธีกดอินพุตของ Vena II Play สลับกันไปมาระหว่างอินพุต AUX2 กับอินพุต COAXIAL ส่วนชุดทดสอบที่สอง ผมคงที่ทุกอย่างไว้เปลี่ยนแต่ลำโพงกับแอมป์แค่สองชิ้น คือลำโพงเปลี่ยนเป็นลำโพงคู่ละแสนสองของ Totem Acoustics รุ่น Elements ‘Ember’ กับเปลี่ยนแอมป์เป็นอินติเกรตแอมป์ของ Naim Audio รุ่น Supernait 3 (REVIEW) ราคาแสนแปดหมื่นห้า ทั้ง 6000N Play และอินติเกรตแอมป์ที่ใช้ทดสอบทั้งสองชุด ผมต่อไฟเอซีเข้าเครื่องด้วยสายไฟแถมสีดำที่ต่อมาจากปลั๊กรางของ Clef Audio รุ่น PowerBridge-8 และจากปลั๊กรางไปที่ปลั๊กไฟบนผนังผมก็ใช้สายไฟแถมเส้นสีดำขนาดใหญ่หน่อย ที่ทำอย่างนี้ก็เพราะต้องการลดการปรุงแต่งที่เกินจำเป็นออกไป เพื่อให้ได้ยินตัวตนแท้ๆ ของ 6000N Play ให้มากที่สุด ซึ่งจากการทดลองใช้สายไฟแถมกับสายไฟดีๆ กับ 6000N Play ผมพบว่า มันไปกับสายไฟแถมได้ดีทีเดียว สายไฟดีๆ มีส่วนช่วยเสริมคุณภาพขึ้นมาได้จริง แต่ก็มีเสริมบุคลิกเสียงขึ้นมาด้วย ซึ่งในกรณีของสายไฟเอซีสำหรับ 6000N Play ผมพบว่ามันมีความสำคัญน้อยกว่าระบบกราวนด์ที่ดีของบ้าน และจุดที่ผมพบว่ามีผลกับคุณภาพเสียงของ 6000N Play มากกว่าสายไฟเอซีก็คือสายสัญญาณที่ใช้เชื่อมต่อจากช่องอะนาลอกเอ๊าต์พุตของ 6000N Play ไปที่อินพุตของแอมป์ ซึ่งจากการทดลองใช้สายสัญญาณดำ–แดงที่แถมมากับเครื่องถูกๆ ดูแล้ว ผมพบว่า เสียงที่ออกมาเมื่อเทียบกับสายสัญญาณที่มีคุณภาพดีระดับคู่ละ 4-5,000 บาท มันต่างกันเยอะมาก สายสัญญาณอะนาลอกดีๆ มีส่วนช่วยทำให้คุณภาพเสียงของ 6000N Play ถูกถ่ายทอดออกมาได้เต็มประสิทธิภาพของมันมากขึ้น ในขั้นตอนท้ายๆ ของการทดสอบกับชุด Supernait 3 + Element ‘Ember’ ผมทดลองแบบไม่อั้น คือใช้สายสัญญาณของ Nordost รุ่น Frey 2 ราคาเมตรละสองหมื่นกว่าเชื่อมต่อระหว่าง 6000N Play กับ Supernait 3 พบว่า เสียงที่ออกมามันขยับสูงขึ้นไปได้อีกเยอะเลย เห็นได้ชัดโดยเฉพาะตอนที่เล่นไฟล์ไฮเรซฯ ทั้งหลาย จะได้ความเปิดโล่งดีขึ้น รายละเอียดออกมาเยอะขึ้น การแจกแจงดีขึ้น รวมถึงไดนามิกและความโปร่งใสของสนามเสียงก็ดีขึ้นด้วย อีกอ๊อปชั่นของ 6000N Play ที่ผมเกริ่นมาก่อนหน้านี้ว่าเป็นของดีที่ไม่ควรมองข้ามนั่นคือช่องดิจิตัล เอ๊าต์พุต coaxial ซึ่งนอกจากจะปล่อยสัญญาณเอ๊าต์พุตได้สูงถึง 24/192 แล้ว ช่องเอ๊าต์พุตนี้ยังให้คุณคุณภาพเสียงที่ดีมากๆ ด้วย.! แอพลิเคชั่น DTS Play-Fi มีความจำเป็นสำหรับการใช้งานกับ 6000N Play เพระมันถูกออกแบบมาให้ใช้งานกับแอพฯ ตัวนี้โดยเฉพาะ ซึ่งคุณสามารถดาวน์โหลดแอพฯ ตัวนี้มาใช้งานได้ฟรี โดยเลือกเอาตามเวอร์ชั่นของระบบปฏิบัติการณ์ที่อุปกรณ์พกพาของคุณใช้อยู่ มีทั้งเวอร์ชั่น Android (โหลดได้จาก Google Play), iOS (โหลดได้จาก App Store), Kindle fire (โหลดได้จาก Amazon Apps) และมีเวอร์ชั่นที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ Windows ด้วย ผมได้ทำบทความแนะนำให้รู้จักกับเทคโนโลยี DTS Play-Fi ไว้แล้ว ตามลิ้งค์ด้านบน แนะนำให้กดลิ้งค์เข้าไปอ่านกันก่อน และขออนุญาตละส่วนของการแนะนำเทคโนโลยี DTS Play-Fi ไป จะขอข้ามไปพูดถึงตัวแอพลิเคชั่น DTS Play-Fi เลยเพื่อไม่ให้เสียเวลา แม้ว่าแอพฯ DTS Play-Fi จะใช้งานบนสมาร์ทโฟนได้ แต่ถ้าเลือกได้ แนะนำให้ใช้บนแท็ปเล็ตจะง่ายต่อการควบคุมมากกว่า หลังจากดาวนด์โหลดแอพลิเคชั่น DTS Play-Fi มาลงบน iPad mini 2 ของผมเสร็จ ผมใช้เวลาเชื่อมต่อแอพฯ เข้ากับเครื่องเล่นตัว 6000N Play แค่ไม่กี่นาทีก็เสร็จแล้ว ถือว่าใช้งานไม่ยาก (ดูจากวิดีโอแนะนำการเชื่อมต่อของ Hi-Fi Tower ถ้าไม่เข้าใจโทรฯ ถามคุณบอล ที่ไฮไฟ ทาวเวอร์ได้เลย โทร. 081-682-7577) ในหน้าหลักของแอพฯ ตัวนี้ได้จัดวางฟังท์ชั่นต่างๆ ไว้เป็นระเบียบเรียบร้อย ใช้สัญลักษณ์ที่เข้าใจได้ง่าย ไปดูลักษณะการใช้งานแอพฯ อย่างคร่าวๆ กันเลย A = ปุ่ม Settings เป็นที่รวบรวมหัวข้อการปรับตั้งค่าต่างๆ ในการใช้งานแอพฯ ตัวนี้

B = แสดงอุปกรณ์ที่เชื่อมต่ออยู่กับแอพฯ ขณะนี้

C = สไลด์ที่ใช้ปรับวอลลุ่ม

D = ปุ่มฟังท์ชั่นใช้งานต่างๆ

E = ปุ่มกดเปิดใช้งานฟังท์ชั่น Critical Listening Mode

F = ซ่อนโซนนี้

G = ลบการใช้งานโซนนี้ เมื่อกดปุ่ม Settings (A) ตัวแอพฯ จะพาคุณเข้ามาในหน้าที่รวบรวมหัวข้อเมนูทั้งหมด ซึ่งมีอยู่ 14 หัวข้อ ยกตัวอย่างเช่น Rename (1) ใช้สำหรับเปลี่ยนชื่ออุปกรณ์แต่ละตัวที่อยู่ในวงเน็ทเวิร์คเดียวกัน ซึ่งแอพฯ ตัวนี้ใช้ชื่อเรียกอุปกรณ์แต่ละตัวว่า “speakers” ณ ตอนแรกที่ Audiolab 6000N Play ถูกเชื่อมเข้ามาในแอพฯ ตัวนี้ ชื่อของมันจะปรากฏเป็นโค๊ดรหัสที่จำยาก เพื่อให้ผู้ใช้จดจำชื่ออุปกรณ์ในแต่ละโซนได้ง่ายขึ้น ทางผู้พัฒนาแอพฯ DTS Play-Fi ตัวนี้จึงมอบฟังท์ชั่น Rename มาให้ ซึ่งในนั้นมีชื่อที่ตั้งสำเร็จไว้ให้คุณสามารถเลือกได้มากมาย อาทิเช่น Living Room, Bed Room ฯลฯ อ้างอิงตามตำแหน่งของโซนที่ใช้ หรือถ้าไม่ชอบ คุณก็สามารถตั้งชื่อตามใจชอบได้ (custom) ในที่นี้ผมได้ปรับตั้งชื่ออุปกรณ์เครื่องเล่นของ Audiolab ตัวนี้ไว้ตามรุ่นเดิมของมันคือ “Audiolab 6000N” นอกจากนั้น ใน settings นี้ยังมีหัวข้อปรับตั้งที่จำเป็นอีก 2-3 หัวข้อ อย่างเช่น “Music Service” (2) ใช้สำหรับเข้าไปดึงไอค่อนของผู้ให้บริการเพลงทางอินเตอร์เน็ต อย่างเช่น TIDAL, Spotify, Deezer ฯลฯ ขึ้นมาพร้อมใช้งานกับเครื่องเล่น 6000N Play ฟังท์ชั่นอีกตัวที่จำเป็นคือ “Update System” (4) มีไว้สำหรับอัพเดตเฟิร์มแวร์ให้กับแอพฯ และตัวเครื่องเล่นฯ ส่วนหัวข้อ “Stereo Pair” (3) มีไว้สำหรับการเลือกลำโพงไร้สาย ที่เชื่อมต่ออยู่กับแอพฯ นี้ให้ทำงานร่วมกันเป็นลำโพง Left กับ Right ในโหมดเสียง Stereo 2 แชนเนล นอกจากนี้ ยังมีการปรับตั้งอื่นๆ อีกบางส่วนซ่อนอยู่ในหัวข้อ “Advanced Settings” ซึ่งอยู่ล่างสุดของหน้า Settings นี้ ก่อนจะเริ่มใช้แอพฯ เล่นไฟล์เพลง ผมแนะนำให้ทำการเปิดใช้โหมด “Critical Listening” ไว้ก่อน เพื่อทำให้แอพฯ พร้อมสำหรับการเล่นไฟล์เพลงไฮเรซฯ ซึ่งวิธีการก็ให้ใช้ปลายนิ้วจิ้มลงไปที่ตัวสัญลักษณ์ “Hi-Res Audio” (ศรชี้) หลังจากนั้นจิ้มเลือกลงไปแล้ว สังเกตที่ตัวสัญลักษณ์ Hi-Res Audio จะเปลี่ยนจากสีเทาๆ กลายเป็นสีเหลืองทอง (ศรชี้) แสดงว่าโหมด Critical Listening ถูกเปิดใช้งานเรียบร้อยแล้ว พร้อมสำหรับการเล่นไฟล์เพลงที่มีสเปคฯ สูงถึง 24bit/192kHz กรณีที่มีอุปกรณ์เล่นไฟล์เพลงเชื่อมต่ออยู่กับแอพฯ หลายตัว จะปรากฏชื่อของอุปกรณ์เหล่านั้นขึ้นมาพร้อมกัน เมื่อคุณต้องการเล่นไฟล์เพลงไปที่อุปกรณ์ตัวไหน ให้จิ้มปลายนิ้วไปที่ชื่อของอุปกรณ์ตัวนั้น ในที่นี้ผมต้องการเล่นไฟล์เพลงที่ตัว “Audiolab 6000N” เมื่อใช้ปลายนิ้วจิ้มลไงปที่ชื่อ Audiolab 6000N จะปรากฏแถบสัญลักษณ์ของผู้ให้บริการเพลงบนอินเตอร์เน็ททั้งหมดที่เราเลือกไว้ ซึ่งคุณสามารถเลือกให้ขึ้นมาใชว์เฉพาะเจ้าที่ใช้งานจริงได้ โดยเข้าไปเลือกที่ Settings > Music Services ส่วนที่ไม่ได้เลือกก็จะไม่ขึ้นมาโชว์ในกรอบนี้ นอกจาก music services แล้ว ที่หน้านี้จะมีสัญลักษณ์อีก 2 ตัวที่โชว์ขึ้นมาเสมอโดยที่คุณไม่ต้องเลือก นั่นคือ “Internat Radio” กับ “Media Server” ซึ่งตัว Media Server (ศรชี้) คือแหล่งที่คุณเก็บไฟล์เพลงของคุณเองเอาไว้ ซึ่งอาจจะเป็นใน NAS ที่เชื่อมต่ออยู่ในเน็ทเวิร์คเดียวกันนี้ หรือบางคนอาจจะเก็บไว้ในฮาร์ดดิสของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่ออยู่ในเน็ทเวิร์คเดียวกันนี้ (*ในกรณีของคนที่ไม่ได้เก็บไฟล์เพลงไว้ใน NAS และต้องการให้แอพฯ ตัวนี้ดึงไฟล์เพลงที่เก็บไว้ในคอมพิวเตอร์มาเล่น ผมแนะนำให้เข้าไปอ่านบทความนี้ก่อน “วิธีทำคอมพิวเตอร์ของคุณให้กลายเป็น Music Serverชั้นดี!”) ทดลองฟังเพลงจาก TIDAL ด้านบนนี้หน้าตาของแอพฯ หลังจากจิ้มปลายนิ้วเลือกไปที่สัญลักษณ์ของ TIDAL ซึ่งเป็นหน้าที่รวบหัวข้อของหมวดเพลงที่จะเลือกฟัง ผมเลือกไปที่ What’s New (ศรชี้) เพื่อขอลองฟังเพลงใหม่ๆ ที่เพิ่งเข้ามา บนแอพฯ ตัวนี้จะแสดงรายละเอียดของเมนู TIDAL ออกมาคล้ายแอพของ TIDAL เอง ซึ่งในหน้านี้จะแยกเพลงใหม่ๆ ออกมาเป็นหมวดหมู่ คือ Playlist, Albums, Tracks .. ผมลองเลือกดูอัลบั้มออกใหม่ทั้งหมด โดยจิ้มไปที่ “> More” ตามศรชี้ในภาพ มาถึงหน้านี้ ซึ่งโชว์อัลบั้มออกใหม่โดยแยกเป็น 3 หมวด คือ New, Recommended และ Top 20 ซึ่งโดยปกติแล้ว ถ้าเป็นแอพฯ ของ TIDAL และเชื่อมต่อกับเครื่องเล่นไฟล์เพลงที่รองรับการถอดรหัสไฟล์เพลง MQA ที่อยู่ใน TIDAL ที่หน้านี้จะมีหัวข้อ MQA ขึ้นมาอีกหนึ่งหัวข้อให้เลือกเล่น เมื่อไม่มีหัวข้อ MQA ขึ้นมาก็แสดงว่า ภาค DAC ของ 6000N Play ไม่รองรับการถอดรหัสให้กับฟอร์แม็ต MQA นั่นเอง (*ผมลองเล่นอัลบั้มที่เป็น MQA ปรากฏว่าแอพฯ เล่นออกมาเป็น 16/44.1 FLAC เท่านั้น แต่เสียงก็ออกมาดีมาก) ผมทดลองเลือกเล่นอัลบั้มชุด “Shelby Lynne” ของศิลปินชื่อเดียวกัน เมื่อเพลงเริ่มเล่นแอพฯ จะพามาหยุดที่หน้านี้ ซึ่งเป็นหน้า Playing ของแอพ ซึ่งไม่ว่าคุณจะสั่งเล่นไฟล์เพลงจากแหล่งไหน ตอนไฟล์เพลงกำลังเล่น ตัวแอพฯ จะแสดงหน้านี้ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดๆ กันดังนั้น (1) แสดงสัญลักษณ์ให้รู้ว่ากำลังฟังจากแหล่งไหน (2) แสดงชื่อเพลง, อัลบั้ม, ศิลปิน พร้อมแสดงฟอร์แม็ตของไฟล์เพลงที่กำลังเล่น บอกสเปคฯ ของสัญญาณเพลงที่กำลังเล่น นอกจากนั้น บริเวณใกล้เคียงกันจะมีสัญลักษณ์ของคำสั่งที่ใช้ควบคุมการเล่นไฟล์เพลง และสไลด์สำหรับปรับวอลลุ่มอยู่ด้วย (3) แสดงชื่อของอุปกรณ์ที่รับสัญญาณเสียงจากแอพฯ ไป (4) อันนี้เป็นแถบแสดงช่วงของเพลงที่กำลังเล่นซึ่งจะไหลไปตามสัญญาณเพลงที่เล่น (5) ถ้าฟังแล้วชอบ ต้องการบันทึกอัลบั้มนี้ไว้เป็น preset ก็ให้จิ้มที่สัญลักษณ์นี้ (6) ถ้าต้องการเข้าไปเลือกลบเพลงใดออกไปจากอัลบั้มนี้ก็จิ้มไปที่สัญลักษณ์นี้ (7) ถ้าต้องการเพิ่มอัลบั้มนี้ไว้ใน My Collection หรือ Add to Playlist หรือต้องการเข้าไปดูงานเพลงอื่นๆ ของศิลปินเดียวกันนี้ ฯลฯ ให้จิ้มที่นี่ (8) จิ้มที่นี่ถ้าต้องการย้อนกลับไปยังหน้าแอพฯ ก่อนหน้านี้เพื่อเลือกฟังอัลบั้มอื่นๆ (9) ต้องการย้อนกลับไปเลือกฟังเพลงจากแหล่งอื่น ให้จิ้มที่สัญลักษณ์นี้ คอมเม้นต์ – ผลการลองฟังจาก TIDAL ผ่าน DTS Play-Fi ไปที่ตัว 6000N Play ผมพบว่า ความไหลลื่นในการโหลดเพลงที่บ้านผมค่อนข้างเร็วและมีความเสถียรมากพอสมควร จากช่วงเวลาประมาณ 3 อาทิตย์ที่ผ่านมา ผมพบปัญหาในการโหลดไฟล์เพลงจาก TIDAL ไม่ถึง 5 ครั้งที่มีอาการเล่นแล้วหยุด ซึ่งก็เป็นช่วงเวลาสั้นๆ เท่านั้น ทั้งนี้ทั้งนั้น ต้องทำความเข้าใจก่อนว่า คุณภาพในการโหลดสัญญาณและคุณภาพเสียงจะขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพของเน็ทเวิร์คและอินเตอร์เน็ตของแต่ละบ้าน แต่ละพื้นที่ใช้งาน ระบบเน็ทเวิร์คที่เร็วและผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตที่มีคุณภาพจะทำให้การฟังเพลงผ่านอินเตอร์เน็ตได้ทั้งความลื่นไหลและคุณภาพเสียงที่ดี ซึ่งผมรู้สึกประทับใจในแง่คุณภาพเสียงที่ได้จากการเล่นผ่าน 6000N Play ตัวนี้มาก มันให้เสียงโดยรวมที่สะอาดและนวลเนียนมาก อย่างอัลบั้มนี้เสียงเบสออกมาแน่นและมีมวลหนา ไม่ได้บางเหมือนที่เคยฟังจากเครื่องเล่นตัวอื่น.. เมื่อลองฟังไปหลายๆ อัลบั้ม ผมพบว่า คุณภาพเสียงที่ได้จาก 6000N Play ด้วยการเล่นเพลงจาก TIDAL เป็นจุดเด่นอย่างมากของ 6000N Play แน่นอนว่า คุณภาพเสียงที่ได้ยินจากการฟังแต่ละอัลบั้มจะขึ้นอยู่กับคุณภาพเสียงของอัลบั้มนั้นๆ ด้วย แต่กับบางอัลบั้มมันให้เสียงที่น่าทึ่งมาก ยกตัวอย่างเช่นอัลบั้มชุด Rare (Deluxe) ของ Salena Gomez เสียงที่ออกมามีทั้งความเปิดกว้าง และให้เบสที่ลงได้ลึกและแน่นเหลือเชื่อมาก เสียงร้องก็มีความนวลเนียนสะอาด ถ้าถามผม โดยส่วนตัว ผมให้ 6000N Play สอบผ่านได้คะแนนเต็มสำหรับการสตรีมเพลงจาก TIDAL ผมแฮ้ปปี้กับเสียงของมันมาก..!! แต่ถ้าคุณมีไฟล์เพลงไฮเรซฯ เก็บไว้กับตัว หรือเป็นไฟล์เพลงที่ริปมาจากแผ่นซีดี คุณสามารถทำไฟล์เพลงเหล่านั้นมาเล่นผ่านแอพฯ DTS Play-Fi ตัวนี้เพื่อส่งสัญญาณไปให้ตัว 6000N Play ทำการแปลงเป็นสัญญาญอะนาลอกออกมาให้ฟังได้ ซึ่งผมอยากจะกระซิบบอกว่า ถ้าคุณได้ยินเสียงของไฟล์ไฮเรซฯ ที่เล่นผ่าน Audiolab 6000N Play ตัวนี้แล้วบอกเลยว่า.. คุณจะลืมเครื่องเล่นซีดีไปเลย.!! วิธีเลือกฟังไฟล์เพลงไฮเรซฯ ก็แค่กลับไปที่หน้าแอพฯ สำหรับเลือกแหล่งเก็บไฟล์เพลงที่ชื่อว่า “Media Server” (ศรชี้ รูปบน) แล้วจิ้มลงไปเลือกไฟล์เพลงจาก server ของคุณขึ้นมาฟัง ซึ่งจากการที่ผมทดลองเล่นด้วยไฟล์เพลงหลากหลายฟอร์แม็ตและหลากหลายความละเอียดกับ 6000N Play ผมพบว่ามันรองรับการเล่นไฟล์เพลงได้ครบทุกฟอร์แม็ตที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็น WAV, FLAC, ALAC, AIFF ไปจนถึง MP3 ส่วนความละเอียดของไฟล์ก็เล่นได้ตั้งแต่สเปคฯ มาตรฐาน 320kbps ของ MP3, 16/44.1, 24/44.1, 24/48, 24/88.2, 24/96, 24/176.4 และ 24/192 แต่ 6000N Play ไม่รองรับไฟล์เพลงตระกูล DSD ทั้งหมด ถ้าคุณมีไฟล์ DSD อยู่และต้องการนำมาเล่นกับ 6000N Play ผมแนะนำให้นำ DSD ที่คุณมีอยู่ไปทำการแปลงให้เป็น PCM ซะก่อนด้วยโปรแกรม DSD2FLAC

DTS Play-Fi .. folder.jpg .!!! DTS Play-Fi 4-5 DTS .. ตอนนั้นเล่นไฟล์ไฮเรซฯ ก็ยังไม่ได้ ภาษาไทยก็ไม่รองรับ ส่วนการทำงานก็ยังเอ๋อๆ ไม่ลื่นปรื๊ดเหมือนตอนนี้

และที่น่าประทับใจมากเป็นพิเศษก็ตอนฟังไฟล์ไฮเรซฯ กับ DTS Play-Fi Audiolab 6000N Play – – WAV 16/44.1 ที่ผมริปมาจากแผ่นซีดี พบว่า เสียงออกมาดีกว่าตอนฟังผ่านเครื่องเล่นแผ่นซีดีมากในแง่ของคอนทราสน์ไดนามิกที่ 6000N Play 6000N Play Wallflower (The Complete Session) Diana Krall นั้น ผมรับรู้ได้ถึงความผ่อนคลายในเสียงร้องที่ควบคุมลมหายใจได้อย่างอยู่หมัด ทุกคำร้องถูกปลดปล่อยออกมาอย่างมีชั้นเชิง ไม่ใช่แค่ร้องออกมาจากปาก แต่สัมผัสได้ถึง “ ” ที่เธอปลดเปลื้องออกไปตามคำร้องทุกคำที่เธอเปล่งออกมาจากปาก พร้อมกับเสียงสตริงของวงแบ็คอัพที่แผ่กว้างและอุ้มโอบด้วยความนุ่มนวล .!!

และเมื่อขยับไปลองฟังไฟล์ที่มีความละเอียดสูงขึ้นไปเรื่อยๆ ผมก็พบว่า ภาค DAC 6000N Play มีประสิทธิภาพสูงจริงๆ ซึ่งจากข้อมูลทางเทคนิคพบมาว่ามันใช้ชิปของ ESS Technology ES9018M2 external DAC 6000N Play

external DAC MyTek Liberty DAC ( coaxial 6000N Play coaxial Liberty DAC) DAC 6000N Play Liberty DAC , การแยกแยะรายละเอียดของเสียง และโฟกัส ซึ่งความแตกต่างจะไปเห็นกันชัดตอนเล่นไฟล์ที่มีความละเอียดสูงตั้งแต่ 24/96 ขึ้นไป แต่ถ้าเปรียบเทียบกันที่ราคาแล้ว ก็ต้องยอมรับว่าคุณภาพเสียงที่ 6000N Play ..